วันเสาร์ที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2558

แผนการสอนครั้งที่ 15

แผนจัดการเรียนรู้รายสัปดาห์  ระดับมัธยมศึึกษาตอนต้น
วิชา วิทยาศาสตร์   พว21001
สาระความรู้พื้นฐาน  จำนวน  4  หน่วยกิต  
ที่
หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/
แหล่ง
เรียนรู้
การวัด
ประเมินผล
4
ความสัมพันธ์ระหว่างดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์

1.อธิบายอิทธิพลของดวง อาทิตย์ และดวงจันทร์ที่มีผลต่อ การเกิดปรากฏการณ์ทางดารา ศาสตร์บนโลก และการ นำไปใช้ประโยชน์ได้

1. การเกิดกลางวัน กลางคืน
2. การเกิดข้างขึ้น ข้างแรม
3. การเกิดสุริยุปราคา และจันทรุปราคา
4. การเกิดฤดูกาล
5. การเกิดลมบก ลมทะเล
การจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบ Onie Model
ขั้นตอนที่ 1 ขั้นกำหนดสภาพปัญหาความต้องการในการเรียนรู้ (O-Orientation)
    ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยสนทนา และซักถามผู้เรียนในเรื่องลักษณะดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์
 ขั้นตอนที่ 2 การแสวงหาความรู้ (N=New ways of learning)
ความสัมพันธ์ระหว่างดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์
การเกิดกลางวัน กลางคืน
การเกิดข้างขึ้น ข้างแรม
การเกิดสุริยุปราคา และจันทรุปราคาการเกิดฤดูกาลการเกิดลมบก ลมทะเล
3. ขั้นตอนที่ 3 การปฏิบัติและการนำไปประยุกต์ใช้ (l=lmplementation)
1. ครูสุ่มตัวแทนกลุ่มนำเสนอเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
2. ครูและผู้เรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผล (E=Evaluation)
1. ครูให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน
2. ครูและผู้เรียนเฉลยแบบทดสอบร่วมกัน                            
3. มอบหมายงานกรต.






1.แบบเรียนวิชาวิทยาศาสตร์
2. ใบความรู้
3. สื่อ ETV
4. ใบงาน
5. แบบทดสอบ
1.แบบบันทึกการเรียนรู้
2.แบบทดสอบ
3. สังเกต
4. การมีส่วนร่วม

                                    แผนจัดการเรียนรู้รายสัปดาห์  ระดับมัธยมศึึกษาตอนปลาย
วิชา วิทยาศาสตร์   พว ๓1001
สาระความรู้พื้นฐาน  จำนวน  4  หน่วยกิต  

ที่
หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/
แหล่ง
เรียนรู้
การวัด
ประเมินผล
4
เทคโนโลยีอวกาศ

๑.บอกความหมาย ความสำคัญ และความเป็นมาของเทคโนโลยีอวกาศได้
2. อธิบายและระบุประเภทของเทคโนโลยีอวกาศได้
3. อธิบายการนำเทคโนโลยีอวกาศมาใช้ประโยชน์ได้
4. บอกโครงการสำรวจอวกาศที่สำคัญในปัจจุบันได้ 

1.   ความหมาย ความสำคัญและความเป็นมาของเทคโนโลยีอวกาศ
2.   ประเภทของเทคโนโลยีอวกาศ
3.   ประโยชน์ของการใช้เทคโนโลยีอวกาศ
โครงการสำรวจอวกาศที่สำคัญในปัจจุบัน
การจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบ Onie Model
ขั้นตอนที่ ขั้นกำหนดสภาพปัญหาความต้องการในการเรียนรู้ (O-Orientation)
    ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยสนทนา และซักถามผู้เรียนในเรื่องโครงการสำรวจอวกาศที่สำคัญในปัจจุบัน
 ขั้นตอนที่ การแสวงหาความรู้ (N=New ways of learning)
 1.ครูอธิบายเรื่องเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญ และความเป็นมา ของเทคโนโลยีอวกาศ
2.ครูให้ผู้เรียนศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับ ประเภทของเทคโนโลยีอวกาศประโยชน์ของการใช้เทคโนโลยีอวกาศโครงการสำรวจอวกาศที่สำคัญในปัจจุบัน
3. ขั้นตอนที่ การปฏิบัติและการนำไปประยุกต์ใช้ (l=lmplementation)
1. ครูสุ่มตัวแทนกลุ่มนำเสนอเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
2. ครูและผู้เรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
ขั้นตอนที่ การประเมินผล (E=Evaluation)
1. ครูให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน
2. ครูและผู้เรียนเฉลยแบบทดสอบร่วมกัน                            
3. มอบหมายงานกรต.






1.แบบเรียนวิชาวิทยาศาสตร์
2. ใบความรู้
3. สื่อ ETV
4. ใบงาน
5. แบบทดสอบ
1.แบบบันทึกการเรียนรู้
2.แบบทดสอบ
3. สังเกต
4. การมีส่วนร่วม















2 ความคิดเห็น: