แผนการเรียนรู้รายสัปดาห์ รายวิชา ทร 21001 ทักษะการเรียนรู้ จำนวน 5 หน่วยกิต
ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น
ที่
|
หัวเรื่อง
|
ตัวชี้วัด
|
เนื้อหา
|
การจัดกระบวนการเรียนรู้
|
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
|
การวัดประเมินผล
|
|
การใช้แหล่งเรียนรู้
|
1.
ประมวลความรู้ และสรุปเป็นสารสนเทศ
2.
ทำงานบนฐานข้อมูลด้วยการแสวงหาความรู้จนเป็นลักษณะนิสัย
3.
ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ เห็นความสำคัญของแหล่งเรียนรู้
|
1. ความหมาย ความสำคัญ ประเภทแหล่งเรียนรู้
เข้าถึงสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ที่สำคัญ
รวมทั้งการใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้ของตนเอง
|
การจัดกระบวนการเรียนรู้
แบบ Onie
Modelขั้นตอนที่ 1 ขั้นกำหนดสภาพปัญหาความต้องการในการเรียนรู้
(O-Orientation) 1.ครูทบทวนบทเรียนจากการพบกลุ่มครั้งที่
แล้วและงานที่มอบหมาย 2.ครูสอบถามนักเรียนในเรื่องเกี่ยวกับแนวความคิดต่าง
ๆมีความสำคัญอย่างไร
2.ขั้นตอนที่ 2 การแสวงหาความรู้ (N=New ways
of learning)
1ครูมอบหมายใบงานและแนะนำแหล่งเรียนรู้ให้นักศึกษาไปให้นักศึกษาค้นคว้าตามแหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่ในชุมชนในหัวข้อ
-
การเขียนสัญญาการเรียนรู้
-
การใช้แหล่งเรียนรู้
2.
ส่งตัวแทนนำเสนอ แล้วสรุปเนื้อหาร่วมกัน
3.
ขั้นตอนที่ 3 การปฏิบัติและการนำไปประยุกต์ใช้
(l=lmplementation)
1.
ครูสุ่มตัวแทนกลุ่มนำเสนอเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
2.
ครูและผู้เรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
ขั้นตอนที่
4
การประเมินผล (E=Evaluation)
1.
ครูให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน
2.
ครูและผู้เรียนเฉลยแบบทดสอบร่วมกัน
3. มอบหมายงานกรต.
|
1.แบบเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 2. ใบความรู้ 3. สื่อ ETV 4. ใบงาน 5. แบบทดสอบ
|
1.แบบบันทึกการเรียนรู้ 2.แบบทดสอบ 3. สังเกต 4. การมีส่วนร่วม
|
แผนจัดการเรียนรู้รายสัปดาห์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
วิชา สังคมศึกษา (สค21001)
สาระ ทักษะการเรียนรู้ จำนวน 3 หน่วยกิต
ที่
|
หัวเรื่อง
|
ตัวชี้วัด
|
เนื้อหา
|
การจัดกระบวนการเรียนรู้
|
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
|
การวัดประเมินผล
|
|
ภูมิศาสตร์กายภาพ
|
1.
โครงสร้างเนื้อหาการเรียนภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทย ทวีปเอเชีย
ทวีปออสเตรเลีย ทวีปยุโรป ทวีปอเมริกา และทวีปแอฟริกา กายภาพ
2.
แผนการเรียนรู้
3.
การใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
3.1 แผนที่ 3.2 ลูกโลก 3.3
เว๊ปไซด์
|
1.
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสภาพทางภูมิศาสตร์กายภาพของประเทศไทยกับทวีปต่างๆ
2.
เปรียบเทียบสภาพภูมิศาสตร์กายภาพของประเทศไทยกับทวีปต่างๆ
|
การจัดกระบวนการเรียนรู้
แบบ Onie
Modelขั้นตอนที่ 1 ขั้นกำหนดสภาพปัญหาความต้องการในการเรียนรู้
(O-Orientation) 1.ครูทบทวนบทเรียนจากการพบกลุ่มครั้งที่
แล้วและงานที่มอบหมาย 2. ครูเริ่มเข้าสู่บทเรียนเหตุการณ์จากภัยธรรมชาติ
2.ขั้นตอนที่ 2 การแสวงหาความรู้ (N=New ways
of learning)
ครูแนะนำวิธีการเรียนรู้โดยใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
1)แผนที่
2)ลูกโลก
3)เว๊ปไซด์
ศึกษาสภาพทางภูมิศาสตร์กายภาพของประเทศไทยกับทวีปต่างๆ
เปรียบเทียบสภาพภูมิศาสตร์กายภาพของประเทศไทยกับทวีปต่างๆ
3.
ขั้นตอนที่ 3 การปฏิบัติและการนำไปประยุกต์ใช้
(l=lmplementation)
1.
ครูสุ่มตัวแทนกลุ่มนำเสนอเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
2.
ครูและผู้เรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
ขั้นตอนที่
4
การประเมินผล (E=Evaluation)
1.
ครูให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน
2.
ครูและผู้เรียนเฉลยแบบทดสอบร่วมกัน
3. มอบหมายงานกรต.
|
1.แบบเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 2. ใบความรู้ 3. สื่อ ETV 4. ใบงาน 5. แบบทดสอบ
|
1.แบบบันทึกการเรียนรู้ 2.แบบทดสอบ 3. สังเกต 4. การมีส่วนร่วม
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น