วันเสาร์ที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2558

แผนการสอนรายสัปดาห์ 13

แผนการเรียนรู้รายสัปดาห์ รายวิชา ทร 21001 ทักษะการเรียนรู้  จำนวน  5 หน่วยกิต
ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น

ที่
หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดประเมินผล

คิดเป็น

อธิบายความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่ กับความเชื่อมโยงสู่กระบวนการคิดเป็นและปรัชญาคิดเป็นได้

1.ความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่ และการเชื่อมโยงสู่กระบวนการคิดเป็นและปรัชญาคิดเป็น

การจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบ Onie Model 
ขั้นตอนที่ ๑ ขั้นกำหนดสภาพปัญหาความต้องการในการเรียนรู้ (O-Orientation)                  
1.ครูทบทวนบทเรียนจากการพบกลุ่มครั้งที่ แล้วและงานที่มอบหมาย                          2.ครูสอบถามนักศึกษาในเรื่องเกี่ยวกับแนวความคิดในการทำงานของตนเอง
ขั้นตอนที่ 2 การแสวงหาความรู้ (N=New ways of learning)  
1.ครูยกตัวอย่างแนวความคิดแบบต่าง ๆ พร้อมให้ตัวอย่างของแนวความคิด พร้อมให้นักศึกษาเชื่อมโยงสู่กระบวนการคิดเป็นและปรัชญาคิดเป็น การใช้กระบวนการทำงานใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการทำงานอย่างไร
2. ส่งตัวแทนนำเสนอ แล้วสรุปเนื้อหาร่วมกัน
ขั้นตอนที่ 3 การปฏิบัติและการนำไปประยุกต์ใช้ (l=lmplementation)
1. ครูสุ่มตัวแทนกลุ่มนำเสนอเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
2. ครูและผู้เรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผล (E=Evaluation)
1. ครูให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน
2. ครูและผู้เรียนเฉลยแบบทดสอบร่วมกัน                            
3. มอบหมายงานกรต.

1.แบบเรียนวิชาวิทยาศาสตร์              2. ใบความรู้              
3. สื่อ ETV              4. ใบงาน 
5. แบบทดสอบ

1.แบบบันทึกการเรียนรู้                         2.แบบทดสอบ          
3.สังเกต                  4. การมีส่วนร่วม


 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาทักษะการขยายอาชีพ รหัส 31002 ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย ( 4 หน่วยกิต)  
กศน. ตำบล……บ้านเป้า……… อำเภอ….เมืองลำปาง…… จังหวัดลำปาง……..
ครั้งที่
รายวิชา/
หัวเรื่อง
เนื้อหา
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
การจัดกระบวนการเรียนรู้
ชั่วโมง
สื่อ/อุปกรณ์
การวัดและประเมินผล

1.ทักษะในการขยายอาชีพ

1. ความจำเป็นในการฝึกทักษะอาชีพ กระบวนการผลิต กระบวนการตลาดที่ใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีเพื่อการขยายอาชีพ           2. ความหมาย ความสำคัญของการจัดการอาชีพ และระบบการจัดการ   
3. แหล่งเรียนรู้ และสถานที่ฝึกอาชีพ                                                    4. การวางแผนโดยกำหนดสิ่งต่าง ๆ ดังนี้            -ความรู้และทักษะที่ต้องฝึก                         -วิธีการฝึก                                             -แหล่งฝึก                                             -วัน เวลาในการฝึก                                   5. การฝึกทักษะอาชีพ                               -การจดบันทึก                                         -ปัญหาและการแก้ปัญหา                            -ข้อเสนอแนะ




1. อธิบายความจำเป็นในการฝึกทักษะอาชีพ กระบวนการผลิต กระบวนการตลาดที่ใช้ นวัตกรรม เทคโนโลยี เพื่อการขยายอาชีพ                                      2. อธิบายความหมาย ความสำคัญของการจัดการอาชีพ และระบบการจัดการ เพื่อการขยายอาชีพโดยพัฒนาต่อยอด ประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา และคำนึงถึงความหลากหลายทางชีวภาพ                                 3. สำรวจแหล่งเรียนรู้ และสถานที่ฝึกทักษะในการขยายอาชีพ                                      4. วางแผนในการฝึกทักษะอาชีพโดยพัฒนาต่อยอด ประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา และคำนึงถึงความหลากหลายทางชีวภาพ                         5. ฝึกทักษะอาชีพตามแผนที่กำหนดไว้ได้โดยมีการบันทึกขั้นตอนการฝึกทุกขั้นตอน



ขั้นที่ 1 กำหนดสภาพปัญหา ความต้องการในการเรียนรู้ (O : Orientation)
ขั้นตอนที่ ๑ ขั้นกำหนดสภาพปัญหาความต้องการในการเรียนรู้ (O-Orientation)   
  ๑.๑    ครูและผู้เรียนร่วมกันอภิปรายความจำเป็นในการฝึกทักษะอาชีพ กระบวนการผลิต กระบวนการตลาดที่ใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีเพื่อการขยายอาชีพ ความสำคัญของการจัดการอาชีพ และระบบการจัดการ แหล่งเรียนรู้ การวางแผน การฝึกทักษะ
 ๑.๒   ครูและผู้เรียนร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาในการฝึกทักษะอาชีพ กระบวนการผลิต กระบวนการตลาดที่ใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีเพื่อการขยายอาชีพ ความสำคัญของการจัดการอาชีพ และระบบการจัดการ แหล่งเรียนรู้ การวางแผน การฝึกทักษะ โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการทำงาน
๑.๓      ครู และผู้เรียนร่วมกันสรุปประเด็น ปัญหา จากการอภิปราย และวิเคราะห์นำมากำหนดกิจกรรมในการศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง กระบวนการกลุ่ม หรือวิธีอื่น ๆ ที่เหมาะสม
ขั้นตอนที่ การแสวงหาความรู้ (N=New ways of learning)  
2.1. ผู้เรียนศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง จากสื่อ อินเทอร์เน็ต ภูมิปัญญาท้องถิ่น แหล่งเรียนรู้อื่น ๆโดยให้ศึกษาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จากแหล่งเรียนรู้                               
 2.2. ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้ามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนในกลุ่ม                                             2.3. ผู้เรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้ และเขียนสรุปรายงาน นำเสนอครูผู้สอน         2.4 ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้ที่ได้รับ                                        ขั้นที่ 3 การปฏิบัติและนำไปประยุกต์ใช้(I : Implementation)
3.1 ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติใช้ในการทำงาน การวางแผนขยายอาชีพ ในการดำรงชีวิตประจำวัน   โดยให้ศึกษาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง             3.2 ผู้เรียนรวบรวมผลการปฏิบัติ สรุป และจัดทำรายงาน                            
 ขั้นที่ 4 การประเมินผลการเรียนรู้              (:Evaluation)                           4.1 ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้จากการนำเสนอผลงาน รายงานของผู้เรียน                                         4.2 ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้จากการสรุปองค์ความรู้ไปใช้ในการปรับปรุง แก้ไข ข้อบกพร่องของตนเอง                                   
4.3 ครูประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนจากผลงาน เอกสารรายงาน ใบงาน ตามสภาพความเป็นจริง และธรรมชาติของผู้เรียน
  
-หนังสือแบบเรียน           -ใบความรู้                     -แบบฝึก/ใบงาน              อินเทอร์เน็ต                  -ห้องสมุดประชาชน         -ภูมิปัญญา/ผู้รู้                -แหล่งเรียนรู้ในชุมชน

-การสังเกต                        -การซักถาม                 -การมีส่วนร่วม              -แบบฝึก/ใบงาน





                               แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาสุขศึกษา  พลศึกษา  รหัส 31002 
                                                   ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย ( 2 หน่วยกิต)  
กศนตำบล……บ้านเป้า……… อำเภอ….เมืองลำปาง…… จังหวัดลำปาง……..
รั้งที่
รายวิชา/
หัวเรื่อง
เนื้อหา
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
การจัดกระบวนการเรียนรู้
ชั่วโมง
สื่อ/อุปกรณ์
การวัดและประเมินผล

1.ผลกระทบจากสารเสพติด
1.การวิเคราะห์ปัญหา สาเหตุ ผลกระทบ และการแพร่ระบาดของสาร เสพติด
2.  การมีส่วนร่วมในการป้องกันสิ่งเสพติดในชุมชน
3.กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิ่ง   เสพติด




1. วิเคราะห์ปัญหา สาเหตุและการแพร่ระบาดของสารเสพติดได้                                  
2.  วิเคราะห์ผลกระทบของสารเสพติดที่มีต่อตนเอง  ครอบครัว  ชุมชนและประเทศได้
 3.มีส่วนร่วมรณรงค์ป้องกัน  สิ่งเสพติดในชุมชนอย่างสม่ำเสมอ
4.แนะนำสาระสำคัญของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิ่งเสพติดแก่ครอบครัวและผู้อื่นได้



ขั้นที่ กำหนดสภาพปัญหา ความต้องการในการเรียนรู้ (O : Orientation)
ขั้นตอนที่ 1 ขั้นกำหนดสภาพปัญหาความต้องการในการเรียนรู้ (O-Orientation)   
 1.1    ครูและผู้เรียนร่วมกันอภิปรายผล กระทบจากสารเสพติด
 1.2   ครูและผู้เรียนร่วมกันวิเคราะห์ปัญหา สาเหตุ ผลกระทบ และการแพร่ระบาดของสาร เสพติด
2.  การมีส่วนร่วมในการป้องกันสิ่งเสพติดในชุมชน
3.กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิ่ง       เสพติด
1.3      ครู และผู้เรียนร่วมกันสรุปประเด็น ปัญหา จากการอภิปราย และวิเคราะห์นำมากำหนดกิจกรรมในการศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง กระบวนการกลุ่ม หรือวิธีอื่น ๆ ที่เหมาะสม
ขั้นตอนที่ การแสวงหาความรู้ (N=New ways of learning)  
2.1. ผู้เรียนศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง จากสื่อ อินเทอร์เน็ต เกี่ยวข้องกับสิ่ง เสพติด
 2.2. ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้ามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนในกลุ่ม                                             2.3. ผู้เรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้ และเขียนสรุปรายงาน นำเสนอครูผู้สอน                                  2.4 ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้ที่ได้รับ                         ขั้นที่ 3 การปฏิบัติและนำไปประยุกต์ใช้(I : Implementation)
3.1 ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติใช้ในการใช้ชีวิตห่างไกลจากยาเสพติด          
 3.2 ผู้เรียนรวบรวมผลการปฏิบัติ สรุป และจัดทำรายงาน                 ขั้นที่ 4 การประเมินผลการเรียนรู้              (:Evaluation)                4.1 ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้จากการนำเสนอผลงาน รายงานของผู้เรียน                                         4.2 ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้จากการสรุปองค์ความรู้ไปใช้ในการปรับปรุง แก้ไข ข้อบกพร่องของตนเอง                                   
4.3 ครูประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนจากผลงาน เอกสารรายงาน ใบงาน ตามสภาพความเป็นจริง และธรรมชาติของผู้เรียน
  
-หนังสือแบบเรียน            -ใบความรู้                     -แบบฝึก/ใบงาน              อินเทอร์เน็ต                  -ห้องสมุดประชาชน       -ภูมิปัญญา/ผู้รู้             -แหล่งเรียนรู้ในชุมชน

-การสังเกต                        -การซักถาม                -การมีส่วนร่วม           -แบบฝึก/ใบงาน









นางสาวระพีพรรณ  ภิญโญ
ครู กศน.ตำบลบ้านเป้า
ผู้รายงาน

2 ความคิดเห็น: