แผนการเรียนรู้รายสัปดาห์ รายวิชา ทช ๒1001
ภาษาไทย จำนวน 5 หน่วยกิต
ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น
ที่
|
หัวเรื่อง
|
ตัวชี้วัด
|
เนื้อหา
|
การจัดกระบวนการเรียนรู้
|
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
|
การวัดประเมินผล
|
หลักการใช้ภาษา
|
สามารถการใช้ถ้อยคำ สำนวน สุภาษิต คำพังเพย โครงสร้างของประโยค รูปประโยค และชนิด ของประโยค ระดับภาษา
คำสุภาพ คำราชาศัพท์
|
-การใช้ถ้อยคำ สำนวน สุภาษิต คำพังเพย
-โครงสร้างของประโยค
-คำสุภาพ
- คำราชาศัพท์
|
การจัดกระบวนการเรียนรู้
แบบ Onie
Modelขั้นตอนที่ 1 ขั้นกำหนดสภาพปัญหาความต้องการในการเรียนรู้
(O-Orientation)
1.ครูทบทวนบทเรียนจากการพบกลุ่มครั้งที่
แล้วและงานที่มอบหมาย 2.ครูสอบถามนักเรียนในเรื่องเกี่ยวกับคำพูดที่สุภาพต่อสังคมปัจจุบัน
2.ขั้นตอนที่ 2 การแสวงหาความรู้ (N=New ways
of learning)
1 ครูให้นักศึกษาศึกษาใบงานเรื่องการใช้ถ้อยคำ สำนวน สุภาษิต คำพังเพย โครงสร้างของประโยค คำสุภาพและคำราชาศัพท์
ให้นักษาศึกษาศึกษาจากอนเตอร์เนต
2.
ส่งตัวแทนนำเสนอ แล้วสรุปเนื้อหาร่วมกัน
3.
ขั้นตอนที่ 3 การปฏิบัติและการนำไปประยุกต์ใช้
(l=lmplementation)
1.
ครูสุ่มตัวแทนกลุ่มนำเสนอเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
2.
ครูและผู้เรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
ขั้นตอนที่
4
การประเมินผล (E=Evaluation)
1.
ครูให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน
2.
ครูและผู้เรียนเฉลยแบบทดสอบร่วมกัน
3. มอบหมายงานกรต.
|
1.แบบเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 2. ใบความรู้
3. สื่อ ETV 4. ใบงาน 5. แบบทดสอบ
|
1.แบบบันทึกการเรียนรู้ 2.แบบทดสอบ 3. สังเกต 4. การมีส่วนร่วม
|
แผนจัดการเรียนรู้รายสัปดาห์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
วิชา ภาษาไทย (ทช ๓1001)
สาระ ความรู้พืนฐาน จำนวน ๕ หน่วยกิต
ที่
|
หัวเรื่อง
|
ตัวชี้วัด
|
เนื้อหา
|
การจัดกระบวนการเรียนรู้
|
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
|
การวัดประเมินผล
|
เรื่อง หลักการใช้ภาษา
|
1. วิจารณ์ และอธิบายคุณค่าวรรณคดี
วรรณกรรมปัจจุบัน และวรรณกรรมท้องถิ่น
2. สามารถการใช้ถ้อยคำ สำนวน สุภาษิต คำพังเพย โครงสร้างของประโยค รูปประโยค และชนิด ของประโยค ระดับภาษา
คำสุภาพ คำราชาศัพท์
|
1 การแต่งคำประพันธ์ประเภทร้อยกรอง.
ธรรมชาติของภาษา
- การเปลี่ยนแปลง
ของภาษา
- ลักษณะของภาษา
- พลังของภาษา
2. การใช้ถ้อยคำ สำนวน สุภาษิต
คำพังเพย
3.
โครงสร้างของประโยค รูปประโยค และชนิด ของประโยค
4. ระดับภาษา
5. คำสุภาพ
6.
คำราชาศัพท์
|
การจัดกระบวนการเรียนรู้
แบบ Onie
Modelขั้นตอนที่ 1 ขั้นกำหนดสภาพปัญหาความต้องการในการเรียนรู้
(O-Orientation)
1.ครูทบทวนบทเรียนจากการพบกลุ่มครั้งที่
แล้วและงานที่มอบหมาย
2. ครูเริ่มเข้าสู่บทเรียนเรื่องการใช้คำราชาศัพท์
2.ขั้นตอนที่ 2 การแสวงหาความรู้ (N=New ways
of learning) .
ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มๆละ ประมาณ 5 คน.ครูมอบหมายใบงาน
- การแต่งคำประพันธ์ประเภทร้อยกรอง
ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่ม ช่วยกันค้นคว้า แล้วออกมานำเสนอ
3.
ขั้นตอนที่ 3 การปฏิบัติและการนำไปประยุกต์ใช้
(l=lmplementation)
1.
ครูสุ่มตัวแทนกลุ่มนำเสนอเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
2.
ครูและผู้เรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
ขั้นตอนที่
4
การประเมินผล (E=Evaluation)
1.
ครูให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน
2.
ครูและผู้เรียนเฉลยแบบทดสอบร่วมกัน
3. มอบหมายงานกรต.
|
1.แบบเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 2. ใบความรู้
3. สื่อ ETV 4. ใบงาน 5. แบบทดสอบ
|
1.แบบบันทึกการเรียนรู้ 2.แบบทดสอบ 3. สังเกต 4. การมีส่วนร่วม
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น