วันเสาร์ที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

แผนการสอนรยสัปดาห์ ครั้งที่ 11 วันที่ 26 กรกฎาคม 2558

แผนจัดการเรียนรู้รายสัปดาห์  ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
วิชา วิทยาศาสตร์  สาระความรู้พื้นฐาน

ที่
หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
การวัดประเมินผล

เทคโนโลยีชีวภาพ
1. อธิบายเกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพ และประโยชน์ได้
2. อธิบายผลของเทคโนโลยีชีวภาพต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อมได้
3. อธิบายบทบาทของภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพได้

1. ความหมายและความสำคัญของเทคโนโลยีชีวภาพ
2. ปัจจัยที่มีผลต่อเทคโนโลยีชีวภาพ
3. เทคโนโลยีชีวภาพในชีวิตประจำวัน
4. ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพ
5. ประโยชน์และผลกระทบของเทคโนโลยีชีวภาพ
การจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบ Onie Modelขั้นตอนที่ 1 ขั้นกำหนดสภาพปัญหาความต้องการในการเรียนรู้ (O-Orientation)                  
1.ครูทบทวนบทเรียนจากการพบกลุ่มครั้งที่ แล้วและงานที่มอบหมาย                  
2.ครูสนทนาเกี่ยวกับ เครื่องปรุงอาหารในชีวิตประจำวัน
3. ครูให้ผู้เรียนศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับ ประโยชน์และผลกระทบของเทคโนโลยีชีวภาพ
2.ขั้นตอนที่ 2 การแสวงหาความรู้ (N=New ways of learning)  
1.ครูให้ผู้เรียนรับชม ETVเรื่อง เทคโนโลยีชีวภาพสรุปร่วมกัน
2.  ครูแบ่งกลุ่มผู้เรียนศึกษาค้นคว้าตามหัวข้อที่ได้รับมอบหมาย
3.ครูให้ผู้เรียนศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับ ประโยชน์และผลกระทบของเทคโนโลยีชีวภาพ
4. ส่งตัวแทนนำเสนอ แล้วสรุปเนื้อหาร่วมกัน
3. ขั้นตอนที่ 3 การปฏิบัติและการนำไปประยุกต์ใช้ (l=lmplementation)
1. ครูสุ่มตัวแทนกลุ่มนำเสนอเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
2. ครูและผู้เรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผล (E=Evaluation)
1. ครูให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน
2. ครูและผู้เรียนเฉลยแบบทดสอบร่วมกัน                            
3. มอบหมายงานกรต.

1.แบบเรียนวิชาวิทยาศาสตร์              2. ใบความรู้              
3. สื่อ ETV              4. ใบงาน                 
 5. แบบทดสอบ
1.แบบบันทึกการเรียนรู้                         2.แบบทดสอบ            
3.สังเกต                  4. การมีส่วน


                                                            แผนจัดการเรียนรู้รายสัปดาห์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
                                                                         วิชา ศาสนาและหน้าที่พลเมือง (สค 21002)
                                                          สาระ การพัฒนาสังคม จำนวน  2  หน่วยกิต (ครั้งที่ 1)

ที่
หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/
แหล่ง
เรียนรู้
การวัด
ประเมินผล
1
ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี

 1.มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความเป็นมาของศาสนาต่างๆ ในประเทศไทย และประเทศในทวีปเอเชีย

 2.นำหลักธรรมสำคัญๆ ในศาสนาของตน มาประพฤติปฏิบัติให้สามารถอยู่ร่วมกันกับศาสนาอื่นได้อย่างสันติสุข










 1.ความเป็นมาของศาสนาในประเทศไทย
   - พุทธ
   - คริสต์
   - อิสลาม
   - ฮินดู
2.หลักธรรมในแต่ละศาสนาที่ทำให้อยู่ร่วมกับศาสนาอื่นได้อย่างมีความสุข
   - ศาสนาพุทธ คือ
     พรหมวิหาร4
     ฆราวาสธรรม ฯลฯ
   - ศาสนาคริสต์
   - ศาสนาอิสลาม
   - ศาสนาฮินดู

การจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบ Onie Model
ขั้นตอนที่ ขั้นกำหนดสภาพปัญหาความต้องการในการเรียนรู้ (O-Orientation)
    ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยสนทนา และซักถามผู้เรียนในเรื่องการนับถือศาสนาของนักศึกษาและครอบครัว
2. ขั้นตอนที่ การแสวงหาความรู้ (N=New ways of learning)
ความเป็นมาของศาสนาในประเทศไทย
หลักธรรมในแต่ละศาสนาที่ทำให้อยู่ร่วมกับศาสนาอื่นได้อย่างมีความสุข
3. ขั้นตอนที่ การปฏิบัติและการนำไปประยุกต์ใช้ (l=lmplementation)
1. ครูสุ่มตัวแทนกลุ่มนำเสนอเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
2. ครูและผู้เรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
ขั้นตอนที่ การประเมินผล (E=Evaluation)
1. ครูให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน
2. ครูและผู้เรียนเฉลยแบบทดสอบร่วมกัน
3. มอบหมายงานกรต.







1.แบบเรียนวิชาวิทยาศาสตร์
2. ใบความรู้
3. สื่อ ETV
4. ใบงาน
5. แบบทดสอบ
1.แบบบันทึกการเรียนรู้
2.แบบทดสอบ
3. สังเกต
4. การมีส่วนร่วม

                                               แผนจัดการเรียนรู้รายสัปดาห์ ระดับประถมศึกษา
                                                                         วิชา ศิลปศึกษา (ทช 11003)
                                                          สาระ ทักษะการดำเนินชีวิต จำนวน 2 หน่วยกิต (ครั้งที่ 1)

ที่
หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
การจัดกระบวนการเรียนรู้
สื่อ/
แหล่ง
เรียนรู้
การวัด
ประเมินผล
1
ทัศนศิลป์พื้นบ้าน
1.สามารถจินตนาการ และอธิบายวิธีการนำความงามจากธรรมชาติให้ออกมาเป็นความงามทางทัศนศิลป์พื้นบ้านอย่างง่าย ๆ
2.อธิบาย วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์รูปแบบและคุณค่าของงานทัศนศิลป์พื้นบ้านในเรื่องต่าง ๆ
3.อธิบายคุณค่า ความสำคัญความดีงามของวัฒนธรรม ประเพณี และความสวยงามของโบราณวัตถุ และโบราณสถานของท้องถิ่น












ทัศนศิลป์พื้นบ้าน
1.ความหมาย ความสำคัญ ความเป็นมาของทัศนศิลป์พื้นบ้าน
2.รูปแบบและวิธีการนำจุด เส้น สี แสง –เงา รูปร่างและรูปทรงมาจินตนาการสร้างสรรค์ประกอบให้เป็นงานทัศน์ศิลป์พื้นบ้าน
3.รูปแบบและวิวัฒนาการของงานทัศน์ศิลป์พื้นบ้านด้าน
  - จิตรกรรม
  - ประติมากรรม
  -สถาปัตยกรรม
  -ภาพพิมพ์
4.รูปแบบและความงามของทัศน์ศิลป์พื้นบ้านกับความงามตามธรรมชาติที่เกี่ยวกับรูปร่างหรือรูปทรง เส้น สี แสง-เงา และจุดของต้นไม้ ดอกไม้ กิ่งไม้ ใบไม้ เปลือกไม้ ตอไม้ ทะเล แม่น้ำ ลำธาร ภูเขา กรวด หิน ดิน
5.ความงามและความซาบซึ้งของงานทัศน์พื้นบ้านที่เกิดจากเส้น สี จุด แสงเงา รูปร่างและรูปทรงที่เกิดจากการเลียนแบบ ลอกแบบมาจากธรรมชาติ

การจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบ Onie Model
ขั้นตอนที่ 1 ขั้นกำหนดสภาพปัญหาความต้องการในการเรียนรู้ (O-Orientation)
    ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยสนทนา และซักถามผู้เรียนในเรื่องศิลปะพื้นบ้าน
2. ขั้นตอนที่ 2 การแสวงหาความรู้ (N=New ways of learning)
ทัศนศิลป์พื้นบ้าน
ความหมาย ความสำคัญ ความเป็นมาของทัศนศิลป์พื้นบ้าน
รูปแบบและวิธีการนำจุด เส้น สี แสง –เงา รูปร่างและรูปทรงมาจินตนาการสร้างสรรค์ประกอบให้เป็นงานทัศน์ศิลป์พื้นบ้าน
รูปแบบและวิวัฒนาการของงานทัศน์ศิลป์พื้นบ้านด้าน
  - จิตรกรรม
  - ประติมากรรม
  -สถาปัตยกรรม
  -ภาพพิมพ์
3. ขั้นตอนที่ 3 การปฏิบัติและการนำไปประยุกต์ใช้ (l=lmplementation)
1. ครูสุ่มตัวแทนกลุ่มนำเสนอเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
2. ครูและผู้เรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผล (E=Evaluation)
1. ครูให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน
2. ครูและผู้เรียนเฉลยแบบทดสอบร่วมกัน
3. มอบหมายงานกรต.







1.แบบเรียนวิชาวิทยาศาสตร์
2. ใบความรู้
3. สื่อ ETV
4. ใบงาน
5. แบบทดสอบ
1.แบบบันทึกการเรียนรู้
2.แบบทดสอบ
3. สังเกต
4. การมีส่วนร่วม

1 ความคิดเห็น: